ประวัตินักวิจัย

           

 

1.ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นางสาวกัญญารัตน์ เป็งงำเมือง

   ชื่อ - นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Miss Kanyarat Peng-ngummuang

2.ตำแหน่งปัจจุบัน พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ

3.หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก

   คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เลขที่ 2 ถนนแจ้งสนิท         

ตำบลในเมือง อำเภอเมือง อุบลราชธานี 34000 

โทรศัพท์ 0-4535-2000 ต่อ 4300, 4302 / 084-4973965 โทรสาร 0-4547-4051 

E-mail: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

4. ประวัติการศึกษา

คุณวุฒิ

ปี พ.ศ.ที่จบ

สถานศึกษา

วท.ม. (การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก)

2558

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 

พทป.บ. (แพทย์แผนไทยประยุกต์)

2555

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

พท.บ. (การแพทย์แผนไทยบัณฑิต)

2563

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ เลขที่ พท.ป.1299

ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย  ด้านเวชกรรมไทย เลขที่ พท.ว.25622

ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย  ด้านการนวดไทย เลขที่ พท.น.7890

ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย  ด้านการผดุงครรภ์ไทย เลขที่ พท.ผ.13456

ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย  ด้านเภสัชกรรมไทย เลขที่ พท.ภ.32860

ใบอนุญาตเป็นผู้ดำเนินการในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพประเภทกิจการสปา ใบอนุญาตเลขที่ ดผส 340100018-61

ใบอนุญาตเป็นผู้ดำเนินการในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพประเภทกิจการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง ใบรับรองเลขที่ ดผส 100200676-64

ใบอนุญาตใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ เลขที่ U1-10155-2565

 5. ความเชี่ยวชาญ

Standard of herbal medicine, Thai traditional medicine

 6. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ

     6.1 การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (ย้อนหลัง 5 ปี)

  • Kanyarat Peng-ngummuang, Kanocnutya Noiming, Ploythakarn Promsit, Sirinporn Srisanga, and Jintana Junlatat. (2019). Development of an exercise program to enhance the ability of students in Thai massage classroom: Considerations for promoting traditional medicine education at national and international levels. in Kerr.et al., URBAN STUDIES: BORDER AND MOBILITY (203-208). London: Taylor & Francis Group.
  • จินตนา จุลทัศน์, ปิยะพร ทรจักร์ และ กัญญารัตน์ เป็งงำเมือง.(2561). ฤทธิ์ยับยั้งการอักเสบของสารสกัดผลหนามแท่ง. วารสารหมอยาไทยวิจัย.4(2).57-65.
  • กัญญารัตน์ เป็งงำเมือง, มุสิกร ธุศรีวรรณ, จริยา ปัณฑวังกูร, พรกรัณย์ สมขาว, สุภาวดี นนทพจน์, กัญญ์ณณัฐ เทพสุริยานนท์, พิชชานันท์ เธียรทองอินทร์, ปริยาภัทร สิงห์ทอง. (2562). การพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนในการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารศรีวนาลัยวิจัย. 9(2) : 27-34.
  • กัญญารัตน์ เป็งงำเมือง, ธีรนาถ จันสุตะ, โสมรัศมี แสงเดช และพรกรัณย์ สมขาว. (2562). การสำรวจการใช้สมุนไพรในชุมชนตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลาชธานี, 8(2), 150-165.
  • Kanyarat Peng-ngummuang, Jintana Junlatat, Puntiwa Krachai, Jakrapong Thangthong, Nusara Pernjit and Sudjai Yaphet. (2020). Pharmacognostic Evaluation of Peltophorum dasyrrachis (MIQ.) Kurz Bark. Interprofessional journal of health sciences. 18(2): 51-58.
  • Jintana junlathat, Kanyarat Peng-ngummuang, Musikorn Tuseewan, Piyaporn Thorajake, Papassorn Opap, Sirilak Kumpapong, Siriporn Konkhayan, and Niramai Fangkrathok. (2020). In vitro anti-oxidant, anti-inflammatory and anti-microbial properties of local herbal recipe for diabetic ulcer treatment. Interprofessional journal of health sciences. 18(2): 44-50.
  • กัญญารัตน์ เป็งงําเมือง, ปิยะพร ทรจักร, พันธ์ทิวา กระจาย, จักรพงค์ แท่งทอง, นิรมัย ฝางกระโทก และ จินตนา จุลทัศน์ (2565). ลักษณะทางเภสัชเวทและฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของต้นพะเนียงฮัด. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 14(1): 116-133.
  • กัญญารัตน์ เป็งงําเมือง, จินตนา จุลทัศน์, กรรณิการ์ พุ่มทอง และสุรีรัตน์ บุตรพรหม (2565). ภูมิปัญญาพื้นบ้านอีสานในการนวดรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม. วารสารกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. 20(1): 89-104.

      6.2 การเผยแพร่ผลงานวิจัยในการงานประชุมวิชาการ (ย้อนหลัง 5 ปี)

  • Kanyarat Peng-ngummuang, Jintana Junlatat, Gunnanut Thapsuriyanoon, Rattanaporn Ainthanam, Suparat Rahotan, Angsana Meemoe, Niramai Fangkrathok and Bungorn Sripanidkulchai. In vitro antioxidant and anti-inflammatory properties of Thai herbal teas. The 2nd International Conference on Herbal and Traditional Medicine 2017 (HTM 2017): “Value-Added of Herbs and Phytotherapy: Challenges for the 21st Century”. 25-27 January, 2017. Asia Hotel, Bangkok, Thailand.
  • Kanyarat Peng-ngummuang, Subhaphorn Wanna, Bungorn Sripanidkulchai, and Jintana Julatat. Antioxidant and anti-inflammatory effects of Thai traditional hemorrhoids-treatment recipe. The 7th International Conference on Natural Products (NATPRO7), 18-20 October, 2018. Gyeongju, Korea.

     6.3 ประวัติการได้รับทุนอุดหนุนการทำวิจัย (ย้อนหลัง 5 ปี)

             1) โครงการวิจัยการพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2559

           2) โครงการวิจัยการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการใช้สมุนไพร ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2559

           3) โครงการวิจัยการพัฒนาศักยภาพนักเรียนในการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2560

           4) โครงการวิจัยการพัฒนาระบบรับรองมาตรฐานสารสกัดสมุนไพรเพื่อควบคุมคุณภาพการผลิตผลิตภัณฑ์ ประจำปีงบประมาณ 2562 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

           5) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากตำรับสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อรักษาแผลเบาหวานของหมอกิตติ นาคูณ ประจำปีงบประมาณ 2562 จากกองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย

           6) โครงการวิจัยการศึกษาการแพทย์ผสมผสานและการแพทย์ทางเลือกในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมของประเทศในเขตอาเซียน ทุนอุดหนุนการวิจัยสำหรับคณาจารย์และบุคลากร งบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ 2562 จากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

           7) โครงการวิจัยการพัฒนาตำรับยารักษาริดสีดวงทวารตามคัมภีร์ฤศดวง ประจำปีงบประมาณ 2564 จากกองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย