หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ความงามและสุขภาพ

หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา                  มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา           คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

ข้อมูลทั่วไป

1รหัสและชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย       : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ความงามและสุขภาพ

ภาษาอังกฤษ   : Bachelor of Science Program in Aesthetic Sciences and Health             

 

2ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็มภาษาไทย       : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ความงามและสุขภาพ)

ชื่อย่อภาษาไทย        : วท.บ. (วิทยาศาสตร์ความงามและสุขภาพ)

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ   : Bachelor of Science (Aesthetic Sciences and Health)

ชื่อย่อภาษาอังกฤษ    : B.Sc. (Aesthetic Sciences and Health)

 

3วิชาเอก

-

 

4จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

    ไม่น้อยกว่า 129 หน่วยกิต

 

5รูปแบบของหลักสูตร

     5.1 รูปแบบ

           หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี

     5.2 ประเภทของหลักสูตร

            หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ

     5.3 ภาษาที่ใช้

           ภาษาไทย

     5.4 การรับเข้าศึกษา

          รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี โดยเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

     5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น

           -

     5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา

          ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

 

6. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรคุณภาพและมาตรฐาน

    หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ  ในปีการศึกษา 2565

 

7อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

    7.1 นักวิจัยและพัฒนา (R&D researcher) ผลิตภัณฑ์และการให้บริการด้านความงามและสุขภาพ

    7.2 ผู้ประกอบการด้านธุรกิจผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการด้านความงามและสุขภาพ

    7.3 ผู้ฝึกสอนทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการให้บริการด้านความงามและสุขภาพ

    7.4 ที่ปรึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อความงามและสุขภาพ

    7.5 ที่ปรึกษาทางด้านการให้บริการด้านความงามและสุขภาพ

    7.6 ผู้ให้บริการด้านความงามและสุขภาพ

    7.7 เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ การคุ้มครองผู้บริโภค และการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์หรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง

- สอบผ่านเกณฑ์การคัดเลือกของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ/หรือเป็นไปตามประกาศการสอบคัดเลือกของมหาวิทยาลัย

โครงสร้างหลักสูตร

               โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาที่สอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้

. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

   1) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

   2) กลุ่มวิชาภาษา

   3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

   4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

. หมวดวิชาเฉพาะ

   1) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ

   2) กลุ่มวิชาชีพ

       2.1) กลุ่มวิชาชีพบังคับ

       2.2) กลุ่มวิชาชีพเลือก

   3) กลุ่มวิชาสร้างเสริมประสบการณ์วิชาชีพ

.  หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า

เรียนไม่น้อยกว่า

เรียน

เรียนไม่น้อยกว่า

เรียนไม่น้อยกว่า

ไม่น้อยกว่า

เรียน

เรียน

เรียน

เรียนไม่น้อยกว่า

เรียน

ไม่น้อยกว่า

30    หน่วยกิต

6      หน่วยกิต

9      หน่วยกิต

6      หน่วยกิต

9      หน่วยกิต

93    หน่วยกิต

28    หน่วยกิต

58    หน่วยกิต

46    หน่วยกิต

12    หน่วยกิต

7      หน่วยกิต

6     หน่วยกิต

รายละเอียดดังนี้

      ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                              ไม่น้อยกว่า                30   หน่วยกิต

          1) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                            เรียนไม่น้อยกว่า         6    หน่วยกิต

9011103

การรู้สารสนเทศและการเรียนรู้

Information Literacy and Learning

3(3-0-6)

9011104

ปรัชญาและการคิดอย่างมีเหตุผล

Philosophy and Rational Thinking

3(3-0-6)

9011105

คุณธรรมจริยธรรมสำหรับบัณฑิต

Morality for Graduates

3(3-0-6)

9012116

งานและการเรียนรู้เพื่อชีวิต

Work and Learning for Life

3(2-2-5)

9012117

สุนทรียภาพแห่งชีวิต

Aesthetics of Life

3(2-2-5)

9012118

ศาสตร์พระราชาเพื่อพัฒนาตน

The King’s Philosophy for Self-Development

3(2-2-5)

 

           2) กลุ่มวิชาภาษา                         เรียนไม่น้อยกว่า                      9  หน่วยกิต

9022117

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร**

Thai for Communication

3(3-0-6)

9022118

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร**

English for Communication

3(3-0-6)

9022119

ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียนรู้**

English for Learning Skills

3(3-0-6)

 

          3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์                เรียนไม่น้อยกว่า           6  หน่วยกิต

9031117

วิถีความเป็นไทย

Ways of Thainess

3(3-0-6)

9032107

กฎหมายและสิทธิมนุษยชน

Laws and Human Rights

3(3-0-6)

9032108

เศรษฐกิจดิจิทัล

Digital Economy

3(2-2-5)

9032109

ความสุขในสังคมพหุวัฒนธรรม

Happiness in Multicultural Society

3(3-0-6)

9032110

วิถีชีวิตและภูมิปัญญาอีสาน

Lifestyles and Wisdom of Esan

3(2-2-5)

9032111

จิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น**

Voluntary Mind for Local Development

3(2-2-5)

              หมายเหตุ  ** เป็นรายวิชาบังคับสำหรับผู้เข้าศึกษาทุกหลักสูตร

         4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรียนไม่น้อยกว่า  9 หน่วยกิต

9041104

คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

Mathematics in Daily Life

3(2-2-5)

9041105

การออกกำลังกายเพื่อคุณภาพชีวิต

Exercises for Quality of Life

3(2-2-5)

9042113

คอมพิวเตอร์และการรู้เท่าทันในยุคดิจิทัล

Computers and Literacy in Digital Age

3(2-2-5)

9042114

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่อนาคต

Application of Future Innovation and Technology

3(2-2-5)

9042115

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

Science and Technology for Sustainable Environment

3(2-2-5)

9042116

สุขภาพเพื่อชีวิต

Health for Life

3(2-2-5)

9042117

ธรรมชาติบำบัด

Natural Medicine

3(2-2-5)

9042118

เกษตรและอาหารเพื่อคุณภาพชีวิต

Agriculture and Food for Quality of Life

3(2-2-5)

9042119

การสร้างมูลค่าเพิ่มจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

Value added Building from Local Wisdom

3(2-2-5)

 ข. หมวดวิชาเฉพาะ                          ไม่น้อยกว่า               93             หน่วยกิต             

     1) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ                    เรียน                     28             หน่วยกิต

6011025

เคมีเภสัชวัตถุ

Chemistry of Materia Medica

3(2-2-5)

6011027

ชีววิทยาสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ      

Biology for Health Science

2(2-0-4)

6011028

เคมีสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

Chemistry for Health Science

2(2-0-4)

6011029

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

English for Health Science

3(2-2-5)

6021101

กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา

Anatomy and Physiology    

3(2-2-5)

6021102

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ความงามและสุขภาพ

Laws for Aesthetic Sciences and Health

3(3-0-6)

6021103

การตรวจร่างกายและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น             

Physical Examination and First Aid

3(2-2-5)

6023104

ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์ความงามและสุขภาพ

Research Methodology for Aesthetics and Health

 

2(1-2-3)

6023105

การสัมมนาทางวิทยาศาสตร์ความงามและสุขภาพ

Seminar for Aesthetic Sciences and Health

1(0-2-1)

6023106

ภาษาอังกฤษสำหรับวิชาชีพด้านความงามและสุขภาพ

English for Aesthetics and Health

3(2-2-5)

6024107

การเตรียมความพร้อมเพื่อประกอบวิชาชีพ

Preparation for Career Work

3(2-3-6)

 

 

      2) กลุ่มวิชาชีพ                                                เรียน                        58               หน่วยกิต

         2.1) กลุ่มวิชาชีพบังคับ                                เรียน                        46               หน่วยกิต

                      2.2) กลุ่มวิชาชีพเลือก                    เรียนไม่น้อยกว่า       12               หน่วยกิต

6022108

ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารสำหรับผู้ให้บริการด้านสุขภาพ     

Japanese Communication for Healthcare Professionals

3(2-3-6)

6022306

การออกกำลังกายเพื่อความงามและสุขภาพ

Exercise for Aesthetics and Health

3(2-3-6)

6022312

เภสัชโภชนภัณฑ์เพื่อความงามและสุขภาพ

Nutraceuticals for Aesthetics and Health

3(2-2-5)

6022313

เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์

Medical Biotechnology

3(2-2-5)

6022314

ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อความงามและสุขภาพ

Local Wisdom for Aesthetics and Health

3(2-2-5)

6022315

การฟื้นฟูสุขภาพ

Health Rehabilitation

3(2-2-5)

6022316

ศิลปแห่งใบหน้าและเรือนร่าง

Arts of Face and Body

3(2-2-5)

 

6022317

การจัดการคุณภาพการให้บริการ

Quality Service Management

3(2-2-5)

6022318

การจัดการธุรกิจความงามและสุขภาพ

Aesthetics and Health Business Management

3(2-2-5)

6023311

 

วารีบำบัด

Hydrotherapy

3(2-3-6)

 

6024204

การออกแบบและพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์

Design and Development of Innovative Products

3(2-2-5)

6024403

การบัญชีเบื้องต้น

Principle of Accounting

3(2-2-5)

       3) กลุ่มวิชาสร้างเสริมประสบการณ์วิชาชีพ                   เรียน         7       หน่วยกิต

              เลือกเรียนเพียง 1 กลุ่ม

          3.1) กลุ่มวิชาฝึกงาน

6023501

 

การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

Preparation for Internships

1(0-2-1)

6024504

 

ปัญหาพิเศษจากสถานประกอบการ

Workplace Special Problem

3(0-6-3)

            เลือก 3 หน่วยกิตจากวิชาต่อไปนี้

6023502

ฝึกงาน

On-the-Job Training

3(320)

6023503

ฝึกงานต่างประเทศ

International On-the-Job Training

3(320)

        3.2) กลุ่มวิชาสหกิจศึกษา

6023501

 

การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

Preparation for Internships

1(0-2-1)

               เลือก 6 หน่วยกิตจากวิชาต่อไปนี้

6024505 

สหกิจศึกษา

Cooperative Education

6(640)

6024506

สหกิจศึกษาต่างประเทศ

International Cooperative Education

6(640)

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี                                   ไม่น้อยกว่า         6        หน่วยกิต

              เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้วและต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของสาขาวิชา