- รายละเอียด
- เขียนโดย Super User
- หมวด: การประชุมทางวิชาการเครือข่ายการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านมหาวิทยาลัยราชภัฏ ครั้งที่ 7 (Mice University)
- ฮิต: 2300
คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
การประชุมทางวิชาการเครือข่ายการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านมหาวิทยาลัยราชภัฏ ครั้งที่ 7 (Mice University)
หัวข้อ "แพทย์แผนไทยในสังคมวิถีใหม่ (Thai Traditional Medicine in New Normal Society)" วันที่ 18-21 มกราคม 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
หัวข้อในการนำเสนอผลงาน 1. การแพทย์แผนไทย 2. การแพทย์ทางเลือก 3. การแพทย์พื้นบ้าน 4. วิทยาศาสตร์สุขภาพ |
หนังสือเชิญ |
กำหนดการ |
การบรรยายพิเศษ วันที่ 18 มกราคม 2565 การบรรยายพิเศษเรื่อง “บทบาทของสมุนไพรไทยต่อการป้องกันและรักษาโรคโควิด-15: มุมมองปัจจุบันและอนาคต” โดย นพ.จักราวุธ เผือกคง ผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย กระทรวงสาธารณสุข |
|
เกียรติบัตรผู้เข้าร่วมรับฟัง |
การบรรยายพิเศษ วันที่ 19 มกราคม 2565 การบรรยายพิเศษเรื่อง “การแพทย์บูรณาการ: ทางเลือกใหม่ของการดูแลสุขภาพในสังคมวิถีใหม่” โดย นพ.พิเชฐ บัญญัติ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข |
|
เกียรติบัตรผู้เข้าร่วมรับฟัง |
การบรรยายพิเศษ วันที่ 20 มกราคม 2565 การบรรยายพิเศษเรื่อง “บทบาทของการแพทย์พื้นบ้านในสังคมวิถีใหม่” โดย ดร.อุษา กลิ่นหอม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสถาบันการแพทย์แผนไทย กระทรวงสาธารณสุข |
|
เกียรติบัตรผู้เข้าร่วมรับฟัง |
การบรรยายพิเศษ วันที่ 21 มกราคม 2565 การบรรยายพิเศษเรื่อง “การวิจัยและพัฒนายา/ผลิตภัณฑ์สมุนไพร: ความท้าทายของนักวิจัยไทย” โดย รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์ หัวหน้าสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การบรรยายพิเศษเรื่อง “กัญชา และกัญชง จากยาเสพติดสู่การใช้ประโยชน์ทางสุขภาพและโอกาสทางพาณิชย์” โดย รศ.ดร.กรกนก อิงคนินันท์ ผู้อำนวยการสถานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการด้านกัญชาและกัญชง (NUCAN) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
|
เกียรติบัตรผู้เข้าร่วมรับฟัง |
ประกาศผลรางวัลการนำเสนองานวิจัย
1. ด้านการแพทย์แผนไทย รูปแบบบรรยาย (Oral presentation) 1.1 รางวัล ระดับดี คือ เรื่อง: "การศึกษาฤทธิ์อายุวัฒนะของสารสกัดแห้วหมูโดยใช้แมลงหวี่เป็นต้นแบบ" ผู้วิจัย: ณัฐพงศ์ วงษ์ชุ่ม, สมชาย ปิ่นลออ และอลงกลด แทนออมทอง
1.2 รางวัล ระดับดีเยี่ยม คือ เรื่อง: "การศึกษาฤทธิ์ต้านโรคอ้วนของสารสกัดตำรับวรโยคสารในแมลงหวี่ที่ได้รับอาหารไขมันสูง" ผู้วิจัย: เบญจมาศ บั้งทอง, ขวัญจิรา กองไชย และอนัญญา เดชะคำภู
รูปแบบโปสเตอร์ (Poster presentation) 1.3 รางวัล ระดับดี คือ เรื่อง: "การพัฒนาพิกัดยาตำรับที่มีฤทธิ์ยับยั้งการดูดซึมไขมันและคาร์โบไฮเดรต" ผู้วิจัย: เทพพงษ์ ยินดี, ทศวรรษ เหล็งสุดใจ, อนัญญา เดชะคำภู และปนัดดา ปัญญา
1.4 รางวัล ระดับดีเยี่ยม คือ เรื่อง: "ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและต้านการอักเสบของตำรับยารักษาริดสีดวงทวารตามคัมภีร์ฤศดวง" ผู้วิจัย: กัญญารัตน์ เป็งงำเมือง, ปิยะพร ทรจักร์ และ จินตนา จุลทัศน์
|
||||||||
2. การแพทย์แผนผสมผสาน รูปแบบบรรยาย (Oral presentation) 2.1 รางวัล ระดับดี คือ เรื่อง: "ผลของสุคนธบำบัดกลิ่นคาโมมายล์ร่วมกับการปฏิบัติสมาธิแบบสมถภาวนาต่อคุณภาพการนอนหลับของผู้สูงอายุ" ผู้วิจัย: อัสมาอ์ อาแซ, นิศาชล คงทอง, นูรอัสมา ปุติ และวิชาญ ภิบาล
2.2 รางวัล ระดับดีเยี่ยม คือ เรื่อง: "การพัฒนายาสมุนไพรร่วมกับยาลดความอ้วนเพื่อใช้สำหรับป้องกันและรักษาโรคอ้วนโดยใช้แมลงหวี่เป็นต้นแบบ" ผู้วิจัย: อนัญญา เดชะคำภู, ดวงพร นันทสำเริง และนรมน อมรวงศ์
รูปแบบโปสเตอร์ (Poster presentation) 2.3 รางวัล ระดับดี คือ เรื่อง: "การศึกษาปัจจัยกลยุทธ์การตลาดของคลินิกการแพทย์แผนไทยในจังหวัดอุบลราชธานี" ผู้วิจัย: ดวงพร นันทสำเริง, ปวิณญดา บุญรมย์, วิกานดา เกษตรเอี่ยม และจตุรงค์ ศรีวงษ์วรรณะ
2.4 รางวัล ระดับดีเยี่ยม คือ เรื่อง: "การพัฒนาระบบข้อมูลด้านเภสัชกรรมไทยในรูปแบบ QR Code 2D" ผู้วิจัย: รุ่งฤดี ดีขุนทด, เพชรน้ำผึ้ง รอดโพธิ์, ธีรพัฒน์ จันษร, บุญหลง ศรีบัว, ศุภรัตน์ ดวนใหญ่ และอาวุธ หงษ์ศิริ
|
||||||||
3. การแพทย์พื้นบ้าน รูปแบบบรรยาย (Oral presentation) 3.1 รางวัล ระดับดี คือ เรื่อง: " การศึกษาพืชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนกรณีศึกษา: ชุมชนเตาปูน หมู่ที่ 1-5 ตำบลเตาปูน อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี" ผู้วิจัย: ซาฟีนี สีบอมุง, และกันตา นิ่มทัศนศิริ
3.2 รางวัล ระดับดีเยี่ยม คือ เรื่อง: "ประสิทธิผลของยาพอกสมุนไพรสูตรหมอแลคอ ต่อการรับรู้อาการปวดของข้อเข่าในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม" ผู้วิจัย: ดาลียัณ สาและ, นูรอัสมา ปุติ และสุธินี หูเขียว
รูปแบบโปสเตอร์ (Poster presentation) 3.3 รางวัล ระดับดี คือ เรื่อง: "ภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน: กรณีศึกษา พระครูสุกิตติคุณ วัดปราสาท ตำบลปราสาท อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ" ผู้วิจัย: ปารีดา เจริญคุณ, อาวุธ หงส์ศิริ, ศุภรัตน์ ดวนใหญ่, เพชรน้ำผึ้ง รอดโพธิ์ และอัจฉรา แก้วน้อย
3.4 รางวัล ระดับดีเยี่ยม คือ เรื่อง: "การศึกษาสมุนไพรแก้พิษงูและสัตว์มีพิษกัด" ผู้วิจัย: โชติกา เทียบคำ และธนิสร์ ปทุมานนท์
|
||||||||
4. การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร รูปแบบบรรยาย (Oral presentation) 4.1 รางวัล ระดับดี คือ เรื่อง: " การพัฒนาผลิตภัณฑ์เซรั่มผมจากสารสกัดข้าวสังข์หยดและสมุนไพรไทย" ผู้วิจัย: เกศสิณี หาตูล, ซูมัยนี ริยะมิง, นูรีซัน ดือเร๊ะ, ยัสมีน กาเดาะ, ศิริรัตน์ ศรีรักษา และยมล พิทักษ์ภาวศุทธิ
4.2 รางวัล ระดับดีเยี่ยม คือ เรื่อง: "การพัฒนาผงซินไบโอติกจากแบคทีเรีย Lactobacillus plantarum P10 ร่วมกับสารสกัดอินูลินจากหัวแก่นตะวัน เพื่อต้านจุลินทรีย์ก่อโรคในระบบทางเดินอาหาร " ผู้วิจัย: วาริณี แสงประไพ, ศิริมา สุวรรณกูฏ จันต๊ะมา และเขมวิทย์ จันต๊ะมา
รูปแบบโปสเตอร์ (Poster presentation) 4.3 รางวัล ระดับดี คือ เรื่อง: "ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย และการตั้งตำรับสบู่จากยาประสะผิวภายนอก " ผู้วิจัย: นภัสวรรณ กลิ่นกรุ่น, ตติยา ศรีจันทร์, วรัฏฐา เหมทอง และประกายรัตน์ ทุนิจ
4.4 รางวัล ระดับดีเยี่ยม คือ เรื่อง: "ประสิทธิผลของเจลตรีกฏุกต่อการลดเซลลูไลท์บริเวณต้นแขนของเพศหญิง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ " ผู้วิจัย: อาทิตย์ ลีประโคน, กชกร เจริญรัมย์, ณัฏฐธิดา ชารี และณัฐพลิน อินทอง
|
เกียรติบัตรผู้เข้าร่วมการนำเสนองานวิจัย
วันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2565 "การแพทย์แผนไทย"
ดาวน์โหลดเกียรติบัตร |
วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2565 "การแพทย์ผสมผสาน"
ดาวน์โหลดเกียรติบัตร |
วันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2565 "การแพทย์พื้นบ้าน"
ดาวน์โหลดเกียรติบัตร |
วันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2565 "การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร"
ดาวน์โหลดเกียรติบัตร |
Proceeding การประชุมวิชาการ
ดาวน์โหลด |