Logo ctamubru
Spa 2566
karatea 2566

อาจารย์กุสาวดี เปลกระโทก

ประวัตินักวิจัย

1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย)  นางสาวกุสาวดี เปลกระโทก

    ชื่อ - นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) -

2. ตำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์

3. หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก

            คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

            2 ถ.ราชธานี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000

            โทรศัพท์   0-4535-2000-29 ต่อ 4300

            E-mail: -

คุณวุฒิ

คุณวุฒิการศึกษา

สาขาวิชา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ปีที่จบ

ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต

ชีวเวชศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

กำลังศึกษา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

เภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2562

วิทยาศาสตรบัณฑิต

เคมี

มหาวิทยาลัยเทคโนโยลีราชมงคลอีสาน

2558

 ผลงานวิจัยและ / หรือ ผลงานทางวิชาการ

  ผลงานทางวิชาการ

   ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

          Suchaichit N, Kanokmedhakul S, Kanokmedhakul K, Moosophon P, Boonyarat C, Plekratoke K, Tearavarich R, Suchaichit N P. Phytochemical investigation and acetylcholinesterase inhibitory activity of bark of Hymenodictyon orixense. Natural Product Research. 1-5, 2017

          Plekratoke K, Waiwut P, N P Suchaichit N P, Bunyapraphatsara N, Reubroycharoen P, Boonyarat C. Neuroprotective Effect of Durio zibithinus against Beta Amyloid. Thai J Pharmacol.4: 14-26, 2018

          Chheng C, Waiwut P, Plekratoke K, Chulikhit Y, Daodee S, Monthakantirat O, Pitiporn S, Musigavong N, Kwankhao P and Boonyarat B. Multitarget Activities of Kleeb Bua Daeng, a Thai Traditional Herbal Formula, Against Alzheimer’s Disease. Pharmaceuticals. 13,79: 1-15, 2020

          Boonyarat C, Sangchavee K, Plekratoke K, Yenjai C, Reubroycharoen P, Kaewamatawong R, Waiwut P. Candidone Inhibits Migration and Invasion, and Induces Apoptosis in HepG2 Cells. Biol Pharm Bull. 1;44(4):494-500, 2021

          Waiwut P, Kengkoom K, Pannangrong W, Musigavong N ,Chheng C, Plekratoke K, Taklomthong P, Nillert N, Pitiporn S, Kwankhao P, Daodee S, Chulikhit Y, Montakantirat O, and Boonyarat C. Toxicity Profiles of Kleeb Bua Daeng Formula, a Traditional Thai Medicine, and Its Protective Effects on Memory Impairment in Animals. Pharmaceuticals. 11;15(8):988, 2022.

          Gao WY, Boonyarat C, Takomthong P, Plekratoke K, Hayakawa Y, Yenjai C, Kaewamatawong R, Chaiwiwatrakul S, and Waiwut P. Acridone Derivatives from Atalantia monophyla Inhibited Cancer Cell Proliferation through ERK Pathway. Molecules. 16;27(12):3865, 2022

          Plekratoke K, Boonyarat C, Monthakantirat O, Nualkaew N, Wangboonskul J, Awale S, Chulikhit Y, Daodee S, Khamphukdee C, Chaiwiwatrakul S and Waiwut P. The Effect of Ethanol Extract from Mesua ferrea Linn Flower on Alzheimer’s Disease and Its Underlying Mechanism. Curr.Issues.Mol.Biol. 45, 4063-4079, 2023.

 

          Plekratoke K, Waiwut P, Yenjai C, Monthakantirat O, Takomthong P, Nualkaew N, Awale S, Chulikhit Y, Daodee S, Khamphukdee C, and Boonyarat C. Multi-Target Actions of Flavonoid Derivatives from Mesua ferrea Linn Flower against Alzheimer’s disease Pathogenesis. Biomedical Sciences and Clinical Medicine. 62(4): 1-12, 2023

อาจารย์ ดร.ปัญจพร สันทัดเลขา

ประวัตินักวิจัย

ชื่อ-สกุล (ไทย)             ปัญจพร สันทัดเลขา                                      

ชื่อ-สกุล (อังกฤษ)                   PUNJAPORN SUNTHUDLAKHAR                   

ตำแหน่ง                              อาจารย์                                                   

การศึกษาสูงสุด           ปริญญาเอก                                               

Email                       This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.                            

เบอร์โทรศัพท์              083-774-7225                                          

สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)

  1. เวชกรรมไทย
  2. การนวดไทยตามทฤษฎีเส้นประธานสิบ
  3. การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสมุนไพร
  4. การวิเคราะห์ทางพฤกษเคมีของสมุนไพร
  5. การควบคุมคุณภาพสมุนไพร

 

ผลงานวิจัย

ปี พ.ศ.

ชื่อผลงาน

สัดส่วน/

ความรับผิดชอบ**

ได้รับทุนวิจัยจาก

 2566

การประเมินการกล่าวอ้างทางสุขภาพของตำรับยาประสะกระท่อม: ฤทธิ์ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ฤทธิ์ต้านการอักเสบ และฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย Helicobacter pylori ที่เป็นสาเหตุของแผลในกระเพาะอาหาร

50

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม ประเภทงานมูลฐาน (Fundamental Fund)

 2565

ฤทธิ์สมานแผลและต้านอักเสบของตำรับยาสมุนไพรที่มีพืชกระท่อมเป็นส่วนประกอบและการประเมินศักยภาพเบื้องต้นเพื่อใช้ในสัตว์

35

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม ประเภทงานมูลฐาน (Fundamental Fund)

 

ผลงานตีพิมพ์ (บทความหรือหนังสือ)

ปี พ.ศ.

ชื่อผลงาน

สัดส่วน/

ความรับผิดชอบ**

วารสาร/ เล่มที่/ ปี

2565

HPLC quantitative analysis of protocatechuic

acid contents in 11 Phellinus mushroom species collected in Thailand

-

Brazillian Journal of Pharmaceutical Sciences/ 58/ 2022

2562

Phytochemical profiles, antioxidant and antibacterial activities of 11 Phellinus mushrooms collected in Thailand,

-

Natural product journal/ 9/ 2019

 

อาจารย์ ดร.ธีระพันธ์ จำเริญพัฒน์

ประวัตินักวิจัย

1. ชื่อ (ภาษาไทย)       นายธีระพันธ์ จำเริญพัฒน์

(ภาษาอังกฤษ)            Mr. Theeraphan Chumroenphat

2.  ตำแหน่งปัจจุบัน       อาจารย์

3.  หน่วยงาน              สาขาวิทยาศาสตร์ความงามและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

                               อาคารวิทยาศาสตร์สุขภาพ (อาคาร 52) ชั้น 2 เลขที่ 2

                               ถนนราชธานี  ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี   34000

                               E-mail: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

                               045-352000 ต่อ 4300

 

4.  ประวัติการศึกษา

ปีที่จบการศึกษา

ระดับปริญญา

อักษรย่อปริญญา

และชื่อเต็ม

สาขาวิชา

ชื่อถาบันการศึกษา

2546

ตรี

วท.บ.

(วิทยาศาสตรบัณฑิต)

เทคโนโลยีชีวภาพ

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2557

โท

วท.ม.

(วิทยาศาสตรหาบัณฑิต)

เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2563

เอก

ปร.ด.

(ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต)

เทคโนโลยีชีวภาพ

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

 5. สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา)

- มีความเชี่ยวชาญในการใช้เครื่องมือวิเคราะห์ชั้นสูง ได้แก่เครื่อง LCMSMS, HPLC, GCMS, GC, SEM, FITR รวมทั้งเทคนิคในการวิเคราะห์ การบำรุงรักษาเครื่องมือ และการใช้งานเครื่องมือที่ถูกต้อง เพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์ที่ถูกต้องและใช้งานเครื่องมือได้อย่างมีประสิทธิภาพ

- มีความสามารถในการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ตามลักษณะของสารพฤษเคมีในตัวอย่าง เป็นผลิตภัณฑ์ เช่น หมูยอเห็ด เจลลี่ขมิ้น ชาสมุนไพรจากพื้นวงศ์ขิง และโปรตีนสกัดเข้มข้นจากพืช เป็นต้น

6.ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ:

6.1 การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (ย้อนหลัง 5 ปี)

Chumroenphat T, Somboonwatthanakul I, Saensouk S, Siriamornpun S. The Diversity of

Biologically Active Compounds in the Rhizomes of Recently Discovered Zingiberaceae Plants Native to North Eastern Thailand. Pharmacog J. 2019;11(5). (Scopus; Q3)

Chumroenphat, T., Somboonwatthanakul, I., Saensouk, S., & Siriamornpun, S. (2020).

Changes in curcuminoids and chemical components of turmeric (Curcuma longa L.) under freeze-drying and low-temperature drying methods. Food Chemistry, 128121. (ISI; Q1 Impact factor 6.306)

Somdee, T., Rattaphol, K., Chatchada, M., Suneerat, Y., Udomsak, M., Chumroenphat, T.,

& Somdee, T.(2020),  Amino Acid, Phytochemical Compositions and Antioxidant Activity of Inky Cap Mushroom (Coprinus radiata). Asian Journal of Chemistry, 33(1), 53-56. (Scopus; Q4)

Siriamornpun, S., Kaewseejan, N., Chumroenphat, T., & Inchuen, S. (2021). Characterization of polysaccharides from Gynura procumbens with relation to their antioxidant and anti-glycation potentials. Biocatalysis and Agricultural Biotechnology, 32, 101957. (ISI; Q4 )

Phusrisom, S., Senggunprai, L., Prawan, A., Kongpetch, S., Kukongviriyapan, U., Thawornchinsombut, S., Siriamornpun, S., Chumroenphat, T., Changsri, R. and Kukongviriyapan, V.. (2021). Anti-tumor activity of rice bran hydrolysates on migration, invasion and angiogenesis. Asian Pacific Journal of Tropical Biomedicine, 11(7), 317. (ISI; Q4 Impact factor 1.545 )

Sangsila, A., Chumroenphat, T., & Jorjong, S. (2021).Effects of drying methods on active odorants, phytochemicals and antioxidant properties of Litsea petiolata Hook. f. leaves locally used as a substitute to male giant water bugs in pungent chili pastes. (Scopus; Q3)

Chumroenphat, T., & Saensouk, S. (2021). Amino acids, bioactive compounds and biological activities of ten species from family Commelinaceae in Thailand. Notulae Botanicae Horti Agrobotanici Cluj-Napoca, 49(3), 12391-12391.

 (ISI; Q3 Impact factor 1.444)

Chumroenphat, T., Saensouk, S., & Saensouk, P. (2021). Chemical composition and antioxidant activity of three species of Cornukaempferia in Thailand. Biodiversitas Journal of Biological Diversity, 22(9). (Scopus; Q4)

Kaewkla, O., Sukpanoa, S., Suriyachadkun, C., Chamroensaksi, N., Chumroenphat, T., &

Franco, C. M. M. (2022). Streptomyces Spinosus Sp. Nov. And Streptomyces Shenzenensis Sub sp. . oryzicola subsp. nov. endophytic actinobacteria isolated from jasmine rice and their genome mining correlate with potential as antibiotic producers and plant growth promoters. Antonie van Leeuwenhoek. (ISI; Q4 Impact factor 2.271)

Kubola, J., Chumroenphat, T., & Meeinkuirt, J. P. W. (2022). Effects of Soil Amendments on Metal Uptake, Antioxidant Activities and Production of Bioactive Compounds by Sunflower Sprouts. Sains Malaysiana, 51(2), 495-505. (ISI; Q4 Impact factor 1.006)

Chumroenphat, T., & Saensouk, S. (2022). Taxonomy, phytochemical and bioactive compounds and potential use as material with different drying methods of Alpinia latilabris Ridl. new record from Thailand. Notulae Botanicae Horti Agrobotanici Cluj-Napoca, 50(1), 12619.  (ISI; Q3 Impact factor 1.444)

Somdee, T., Thitusutthi, S., Somdee, T, Chumroenphat, T., & Mungvongsa, A. (2022). Effect of solid-state fermentation on amino acid profile and phytochemicals of red rice bran. ScienceAsia, 49(2023), 63-69.  (ISI; Q4 Impact factor 0.995)

Saensouk, S., Seanavongse, R., Papayrata, C., Chumroenphat, T.* (2022). Evaluation of color, phytochemical compounds and antioxidant activities of mulberry fruit (Morus alba L.) during ripening. Horticulturae, (ISI; Q1; Impact factor 2.923)

อรอนงค ภูสีฤทธิ์, ธีระพันธ จําเริญพัฒน, เนตรนภา กุมารสิทธิ์, เรณุกา ระดาไสย, สิริรัตน สังขบัวดง.

(2562). สารประกอบ ฟี น อ ลิ ก และ ความ สามารถ ใน การ ต้าน อนุมูล อิสระ ของ สาร สกัด สมุนไพร ไทย บาง ชนิด. Journal of Roi Et Rajabhat University: Science and Technology, 1(1), 44-51.

Phuseerit, O., Wijitkajee, J., Panglue, R., & Chumroenphat, T. (2019). Volatile compounds, phenolic compounds and antioxidant activities of gold apple (Diospyros decandra L.) fruit. Kaen Kaset Khon Kaen Agriculture Journal, 47(Suppl. 1), 1549-1556.

 

6.2 การเผยแพร่ผลงานวิจัยในการงานประชุมวิชาการ (ย้อนหลัง 5 ปี)

ธีระพันธ์  จำเริญพัฒน์, ปิยะพร  แสนสุข, อิสราภรณ์ สมบุญวัฒนกุล และสุรพล แสนสุข. 2560. ปริมาณ

สารประกอบฟีนอลิก และฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ ของดอกพืชสกุลขมิ้นกินได้ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย. การประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11. วันที่ 14-15 มิถุนายน 2560,  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร

 

6.3 ประวัติการได้รับทุนอุดหนุนการทำวิจัย (ย้อนหลัง 5 ปี)

หัวหน้าโครงการวิจัย

ลำดับ

ชื่อโครงการ

แหล่งทุน

งบประมาณรวม (บาท)

ปีที่ได้-สิ้นสุด

เป็นหัวหน้า/

ผู้ร่วมวิจัย

1

การวิเคราะห์สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชวงศ์ผักปลาบในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สกสว.

300,000

2564-2565

หัวหน้า

2

ผลของการอบแห้งต่อปริมาณสารออกฤทธิ์และฤทธิ์ทางชีวภาพของข่าคมเพื่อพัฒนาเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

130,000

2565-2566

หัวหน้า

3

การศึกษา กรดอะมิโน กาบา โพลีแซคคาไรด์และสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในถั่วแฮงอกเมล็ดเพื่อพัฒนาเป็นอาหารสุขภาพ

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

200,000

2566-2567

หัวหน้าโครงการ

 ผู้ร่วมวิจัยโครงการวิจัย

ลำดับ

ชื่อโครงการ

แหล่งทุน

งบประมาณรวม (บาท)

ปีที่ได้-สิ้นสุด

เป็นหัวหน้า/

ผู้ร่วมวิจัย

1

การวิเคราะห์สารออกฤทธิ์และฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชวงศ์ขิง

วช.

300,000

2560

ผู้ร่วมวิจัย

2

การวิเคราะห์สารออกฤทธิ์และฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชพันธุ์พื้นเมืองในป่าโคกดงเค็ง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (อพ.สธ.)

อพ.สธ.

400,000

2561-2562

ผู้ร่วมวิจัย

3

การพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพที่มีสารออกฤทธิ์สูงจากใบเกล็ดปลาช่อน (Phllodium pulchellum L.) (อพ.สธ.)

อพ.สธ.

300,000

2561-2562

ผู้ร่วมวิจัย

4

การศึกษาการพัฒนาพืชให้สีในเขต อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม (อพ.สธ.)

อพ.สธ.

600,000

2561-2562

ผู้ร่วมวิจัย

5

การศึกษาผลของการอบแห้งต่อปริมาณกรดอะมิโน พอลิแซคคาไรด์ สารออกฤทธิ์และฤทธิ์ทางชีวภาพของมะก่อเพื่อพัฒนาเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

160,000

2565-2566

ผู้ร่วมวิจัย

 

6

การศึกษาผลของการทำแห้งต่อปริมาณสารพอลีแซคคาไรด์ กรดอะมิโน สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระจากหอมแดง เพื่อพัฒนาเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

379,500

2565-2566

ผู้ร่วมวิจัย

7

การศึกษาปริมาณสารแคโรทีนอยด์ในมะหวดสายพันธุ์ต่างๆและความคงตัวต่อการแปรรูปโดยการทำแห้งเพื่อศักยภาพในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

400,000

2565-2566

ผู้ร่วมวิจัย

8

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ถั่วลิสงแท่งเสริมธัญพืช

(Development of snack bars from peanuts fortified with cereals)

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

300,000

2565-2566

ผู้ร่วมวิจัย

9

คุณสมบัติเพื่อสุขภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์หมูยอเห็ดทอดกรอบเสริมสมุนไพร

(Potential Health Enhancing Properties and Product Development of Mushroom in pork sausage (Moo Yaw) Chips fortified with Herbs)

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

300,000

2565-2566

ผู้ร่วมวิจัย

10

การขยายพันธุ์ในหลอดทดลองและฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นของปราบสมุทร

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

200,000

2565-2566

ผู้ร่วมวิจัย

11

การวิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบและประเมินคุณภาพผลิตภัณฑ์จิ้งหรีดผงตลอดกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับมาตรฐานกระบวนการแปรรูปจิ้งหรีดผงเชิงพาณิชย์

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

1,500,000

2565-2566

ผู้ร่วมวิจัย

12

การส่งเสริม และสนับสนุนเกษตรกรผู้เลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อเข้าสู่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) เพื่อความยั่งยืน และเพิ่มศักยภาพการแข่งขันเชิงพานิชย์

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

1,200,000

2565-2566

ผู้ร่วมวิจัย

13

การศึกษา กรดอะมิโน กาบา โพลีแซคคาไรด์และสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในถั่วแฮงอกเมล็ดเพื่อพัฒนาเป็นอาหารสุขภาพ

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

200,000

2566-2567

หัวหน้าโครงการ

14

องค์ความรู้พืชวงศ์ขิงสู่การเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพเศรษฐกิจของวิสาหกิจชุมชนและท้องถิ่นในจังหวัดกาฬสินธุ์อย่างยั่งยืน

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

600,000

2566-2567

ผู้ร่วมวิจัย

15

การศึกษาผลของการอบแห้งต่อกรดอะมิโน น้ำตาล ปริมาณสารออกฤทธิ์และฤทธิ์ทางชีวภาพ ของข้าวโพดหวานสีแดงเพื่อพัฒนาเป็นอาหารเพื่อสุขภาพเชิงพาณิชย์

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

200,000

2566-2567

ผู้ร่วมวิจัย

16

การขยายพันธุ์ ดัชนีพืช และผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรกระชายต้านโควิด-19 ชุมชนบ้านท่าแร่ ต.แก่งเลิงจาน อ.เมือง จ.มหาสารคาม 

กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.)

100,000

2566-2567

ผู้ร่วมวิจัย

 

งานวิจัยที่กำลังทำอยู่

    ลำดับ

ชื่อโครงการ

แหล่งทุน

งบประมาณรวม (บาท)

ปีที่ได้-สิ้นสุด

เป็นหัวหน้า/

ผู้ร่วมวิจัย

1

องค์ความรู้พืชวงศ์ขิงสู่การเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพเศรษฐกิจของวิสาหกิจชุมชนและท้องถิ่นในจังหวัดกาฬสินธุ์อย่างยั่งยืน

วช

600,000

2566-2566

 

 

 

 

 

 

อาจารย์ ดร.สุพรรณฉัตร หนูสวัสดิ์

ประวัตินักวิจัย

1. ชื่อและนามสกุล (ภาษาไทย) นางสาวสุพรรณฉัตร   หนูสวัสดิ์ (ชื่อเดิม นางมุสิกร  ธุศรีวรรณ)

2.ชื่อและนามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Miss Suphannachat  Nusawat

(Mrs.Musikorn Tuseewan)

3.ตำแหน่งปัจจุบัน พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา (วิชาการ)

4. หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก

คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

เลขที่ 2 อาคาร 52 ถนนราชธานี  ตำบลในเมือง  อำเภอเมือง  จังหวัดอุบลราชธานี  34000

โทรศัพท์ 0-4535-2000 ต่อ 4300  โทรสาร 0-4547-4051 

E-mail : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

 

 5. ประวัติการศึกษา

คุณวุฒิการศึกษา

ปีที่สำเร็จการศึกษา

สถาบันการศึกษา

ปวส.การแพทย์แผนโบราณประยุกต์

พ.ศ. 2544

อายุรเวทวิทยาลัย (ชีวกโกมารภัจจ์)

วท.บ. การแพทย์แผนไทยประยุกต์

พ.ศ. 2549

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

พท.บ. การแพทย์แผนไทย

พ.ศ. 2553

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ส.ม. การสร้างเสริมสุขภาพ

พ.ศ. 2556

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

ปร.ด. เภสัชศาสตร์

พ.ศ. 2565

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

 6.สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ  

          สาขาการแพทย์แผนไทย สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ และสปาเพื่อสุขภาพ

 7.ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ                

          7.1 การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 

          Nusawat, S., Deelurd, K., Inthasoi, P & Thiantongin, P. (2022). Traditional Phytoremedies Used by Traditional Healers of Sisaket and Ubon Ratchathani Provinces of Northeastern Thailand to Treat Menstrual Disorders. Tropical Journal of Natural Product Research. 6(3), 345-353.

          Jintana Junlatat, Suphannachat Nusawat, Warinee Sangprapai and Saran Chaweerak. (2022). Antioxidative and anti-inflammatory effects of Thai traditional topical herbal recipe for osteoarthritis of knee. Naresuan Phayao Journal. 15(1): 11-22. January-April 2022.

          สุภารัตน์ สุขโท, วาริณี แสงประไพ, จินตนา จุลทัศน์, สุพรรณฉัตร หนูสวัสดิ์ และพนิดา กมุทชาติ. (2565). ผลของโปรแกรมการประยุกต์ท่ารำในท้องถิ่นต่อสมรรถภาพทางกายและคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุ หมู่ 2 ต.นาเยีย อ.นาเยีย จ.อุบลราชธานี. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 14(1): 99-115. 1 มกราคม-เมษายน 2565.

          สุพรรณฉัตร หนูสวัสดิ์ และอนุวัฒน์ วัฒนพิชญากุล. (2565). สภาพการดำเนินงานและปัญหาการพัฒนางานด้านการผดุงครรภ์ไทยในโรงพยาบาลรัฐของประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอิสเทิร์น. 1-13.

          วาริณี แสงประไพ สุภารัตน์ สุขโท จินตนา จุลทัศน์ สุพรรณฉัตร หนูสวัสดิ์ และพนิดา กมุทชาติ. (2565). ผลระยะสั้นของโปรแกรมการออกกำลังกายต่อการทรงตัว ความแข็งแรง ความยืดหยุ่น และความทนทานของระบบหัวใจและหลอดเลือดในผู้สูงอายุ. Koch Cha Sarn Journal of Science. 44 (1): 14-23.

          สุพรรณฉัตร หนูสวัสดิ์, อนุวัฒน์ วัฒนพิชญากูล. (2564). การศึกษาแนวทางการพัฒนางานด้านการผดุงครรภ์ไทยในโรงพยาบาลรัฐของประเทศไทย. วารสารศรีวนาลัยวิจัย. 11(2): 39-50.

          พนิดา กมุทชาติ จินตนา จุลทัศน์ มุสิกร ธุศรีวรรณ วาริณี แสงประไพ และสุภารัตน์ สุขโท. (2564). การวิเคราะห์บริบทและการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนบ้านนาเยีย ตำบลนาเยีย อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 12(2). 26-39.

          Jintana Junlatat, Kanyarat Peng-ngummuang, Musikorn Tuseewan. Piyaporn Thorajake,Papassorn Opap, Sirilak Kumpapong, Siriporn Konkhayan and Niramai Fangkrathok. (2020). In vitro anti-oxidant, anti-inflammatory and anti-microbial properties of local herbal recipe for diabetic ulcer treatment. Interprofessional Journal of Health Sciences.

          กัญญารัตน์ เป็งงำเมือง, มุสิกร ธุศรีวรรณ, จริยา ปัณฑวังกูร, พรกรัณย์ สมขาว, สุภาวดี นนทพจน์,กัญญ์ณณัฐ เทพสุริยานนท์, พิชชานันท์ เธียรทองอินทร์ และปริยาภัทร สิงห์ทอง. (2562). การพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนในการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารศรีวนาลัยวิจัย ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562. หน้า 27.

          สุภาวดี นนทพจน์, มุสิกร ธุศรีวรรณ. (2562). การพัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารศรีวนาลัยวิจัย ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562. หน้า 67.

          สุภัทรา กลางประพันธ์, มุสิกร ธุศรีวรรณ และวิรุธน์ บัวงาม. การประเมินผลการจัดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพแพทย์แผนไทยคณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2557.หน้า 72-78.

          Pumthong, G., Nathason, A., Tuseewan, M., Pinthong, P., Klangprapun, S., Thepsuriyanon,D., et al.(2015). Complementary and alternative medicines for diabetes mellitus management in ASEAN countries. Princess of Naradhiwas University Journal, 23 : 612-625.

 

7.2 การเผยแพร่ผลงานวิจัยในการงานประชุมวิชาการ

          Musikorn Tuseewan. (2014). Traditional Thai Medicine as an Alternative Therapi amongCommunity. Oral session presented at the Appliance of Herbal Medicine,Jamu and other Complementary Alternative Medicine in Indonesian Integrative Medicine Surabaya,1st International Symposium of Traditional Complementary and Alternative Medicine. Shangri-La,12th-13th April 2014, 34-35. Indonesian.

 

7.3 ประวัติการได้รับทุนอุดหนุนการทำวิจัย 

     ผู้ร่วมวิจัย/โครงการ

  • การพัฒนากระเป๋าความร้อนสมุนไพรระบบไฟฟ้าลดอาการปวดหลังส่วนล่าง. ทุนวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.)
  • การพัฒนาอาชีพผู้พิการด้วยผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพ. โครงการทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน ปี 2564 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
  • การศึกษาความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพื่อความยั่งยืนในเขตตำบลพังเคน อำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี โครงการการศึกษาศักยภาพเพื่อยกระดับการพัฒนาเชิงพื้นที่ของเครือข่าย (Preliminary Research) ภายใต้กรอบ Health and Wellness Tourism โครงการพัฒนาเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานราก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.)
  • โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ในชุมชนฐานราก : กิจกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจน เทศบาลตำบลนาเยีย อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2565
  • โครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนในตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี  โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2565
  • การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร ภายใต้แผนงานบูรณาการเพื่อพัฒนาพื้นที่ระดับภาค (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
  • การศึกษากลไกออกฤทธิ์ต้านการอักเสบของตำรับยาสมุนไพรทาแก้บวม คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีประจำปีงบประมาณ 2561
  • การพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนในการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2560
  • การพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2559
  • การศึกษาภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านในจังหวัดอุบลราชธานี กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจำปงบประมาณปี 2558
  • การพัฒนารูปแบบการฟื้นฟูองค์ความรู้การแพทย์พื้นบ้าน ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีประจำปีงบประมาณ 2557

 

 

 

 

 

ตึกไหนที่เด็กใหม่ต้องรู้จัก!

9 วิธีง่ายๆ ในการประหยัดพลังงาน

แพทย์แผนไทยเรียนอะไรบ้าง

35,10,0,50,1
25,600,60,0,3000,5000,25,800
90,150,1,50,12,30,50,1,70,12,1,50,1,1,1,5000
0,2,1,0,2,40,15,5,2,1,0,20,0,0
หลักสูตรแพทย์แผนไทยบัณฑิต
บริการวิชาการ
Face to face with nature...
thai medicine
thai massage
thai pharmacy
thai Midwifery